วันอังคารที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

คำสั่งอื่นๆ (Unix)

คำสั่งอื่นๆ

1. At - ตั้งเวลารันกลุ่มคำสั่ง


2. cpio - ต้องการชื่อเต็ม (full pathname) ดังนั้นถ้าผู้ใช้ทำการอ้างชื่อ ไดเรกทอรีปลายทางแบบ relative

3. bc - คำสั่งเรียกใช้โปรแกรมคำนวณเลขของระบบ Unix,Linux

4. basename - เป็นคำสั่งสำหรับสกัดเอาชื่อไฟล์ไฟล์โดยตัดส่วนขยายชื่อไฟล์ (file extension) .gif ออก

5. last - ใช้แสดงรายชื่อผู้ login เข้ามาล่าสุด

6. crontab - ตั้งเวลาสั่งงานคอมพิวเตอร์ crontabตั้งเวลารันคำสั่งเป็นรอบเวลาที่กำหนด

7. dd - ลบบรรทัดปัจจุบันทั้งบรรทัด

8. du - แสดงการเนื้อที่ใช้งาน ของแต่ละ directory โดยละเอียด duเป็นการดูเนื้อที่ว่างบนไดเรคทรอรี่ที่ใช้อยู่

9. dirname - คือเปลี่ยนทั้งเจ้าของไฟล์และกลุ่มไปพร้อมกันทุกไฟล์ใน Sub dirname

10. ln - เป็นคำสั่งไว้สร้าง link ไปยังที่ ที่ต้องการ คลายกับ shortcut

11. env - แสดงค่า environment ปัจจุบัน

12. eject - เป็นคำสั่งให้นำคำสั่งที่ตามหลังคำสั่งeject ไปขึ้นหน้าใหม่ ทั้งนี้เพื่อให้แต่ละส่วนของโปรแกรมใหญ่ๆ ขึ้นหน้าใหม่ ส่วนคำสั่ง ejectจะไม่ปรากฏใน Assembly Listing

13. exec - ที่ใช้ในการแทนค่าตัวแปรแล้วรันคำสั่งแบบพลวัต (dynamicly) บันทึกพฤติกรรมของ exec ไว้

14. free - แสดงหน่วยความจำที่เหลืออยู่บนระบบ โครงสร้างคำสั่ง free [-b-k-m] โดย option ที่มักใช้กันใน free คือ -b แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย byte -k แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย kilobyte -m แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย megabyteตัวอย่าง free free -b free -k freeเป็นการแสดงสถานะของเมมโมรี่ และเนื้อที่ว่างบนเมมโมรี่ ทั้งกายภาพ ที่ใช้ ใน swap, และบัฟเฟอร์

15. groups -

16. hostname - แสดง/กำหนดชื่อโฮสต์ คำสั่งแสดงชื่อเครื่องที่ใช้อยู่

17. lp -

18. mount - ของระบบ Unix,Linux*^*(เป็นคำสั่งเชื่อมต่ออุปกรณ์เข้ากับระบบ)รูบแบบการใช้งาน mount (-t type) DeviceDriver MountPointตัวอย่าง# การ Mount แบบที่1 CdRom mount -t iso9660 /dev/cdrom /mnt/cdromหรือ# mkdir /mnt/cdrom# mount_cd9660 /dev/cd0a /mnt/cdrom#การ Mount CdRomแบบที่2 mount /dev/cdrom (เมื่อmountแล้วCDจะอยู่ที่ /mnt/CdRom ยกเลิกดูคำสั่ง Unmount)

19. mt - คำสั่งกำหนดและแก้ไขรหัสผ่านของ User ของระบบ Unix,Linux ... คำสั่งกำหนดคำสั่งย่อ ของระบบ Unix,Linux

20. nice - คำสั่งหรือโปรอกรมเข้าสู่เครื่อง ติดต่อ nice หรือ ติดต่อผู้บริหารเว็บไซต์ + Powered by KnowledgeVolution

21. nohup -

22. netstat - แสดงสถานะของเครือข่ายว่ามีโปรแกรมใดเปิดให้บริการ

23. od - แสดงเนื้อหาในไฟล์ไบนารี่

24. pr - คือส่วนหนึ่งของภาษา HTML. คุณสามารถใช้ BBCode ในข้อความที่คุณพิมพ์. และคุณสามารถยกเลิกการใช้ BBCode ในแต่ละข้อความได้ในแบบฟอร์มกรอกข้อความ. BBCode มีรูปแบบคล้ายๆกับภาษา HTM

25. df - ของระบบ Unix,Linux (เป็นการตรวจสอบการใช้พื่นที่บนฮาร์ดดิสก์)รูบแบบการใช้งานdf [option] [file]ตัวอย่าง df [Enter]

26. printf - รับค่าตัวแรกเป็นข้อความที่จัดรูปแบบการแสดงผล และรับรายการของข้อมูลที่ต้องการแสดงผลถัดไป.รูปแบบการแสดงผลจะถูกระบุโดยเครื่องหมาย % ตามด้วยอักษรแสดงรูปแบบ. ในกรณีนี้ %d ระบุว่าเราจะพิมพ์ตัวเลขฐานสิบ

27. df - ของระบบ Unix,Linux (เป็นการตรวจสอบการใช้พื่นที่บนฮาร์ดดิสก์)รูบแบบการใช้งานdf [option] [file]ตัวอย่าง df [Enter]

28. Printenv - คำสั่งนี้จะแสดงค่าตัวแปลสภาพ แวดล้อม. ตัวอย่าง:. -เซ็ตค่าตัวแปรสภาพแวดล้อม. จะใช้คำสั่ง ‘setenv’

29. pg - เป็นคำสั่งใช้แสดง content ของไฟล์ ทั้งหมดทีละจอภาพ ถ้าต้องการแสดงหน้า ถัดไป ต้องกด แป้น enter; รูปแบบ. pg filename

30. Quota -

31. rlogin - ใช้เพื่อเปิดการเชื่อมต่อ ด้วย rlogin. rsh. ใช้เพื่อ execute คำสั่งแบบ Remote (การใช้คำสั่งทำงานบน Host อื่นแบบ Remote)

แหล่งที่มา
Linux Command - คำสั่ง linux
linux training in Thailand. Home Articles Webboard Download FreeTips Resources Training Blog Web Link ...www.itdestination.com/resources/linux-command/

คำสั่งเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสาร (Unix)

คำสั่งเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสาร

1. Telnet - คำสั่ง telnet : ใช้ติดต่อเข้า server ต่าง ๆ ตาม port ที่ต้องการ แต่ปัจจุบัน server ต่าง ๆ ปิดบริการ telnet แต่เปิด SSH แทน : user interface to the TELNET protocol ตัวอย่างคำสั่ง และการใช้งานtelnet 202.202.202.202 :: ขอติดต่อเข้าเครื่อง 202.202.202.202 การไม่กำหนด port คือเข้า port 23telnet www.school.net.th 21 :: ขอติดต่อผ่าน port 21 ซึ่งเป็น FTP porttelnet mail.loxinfo.co.th 25 :: ตรวจ smtp ว่าตอบสนองกลับมา หรือไม่telnet class.yonok.ac.th 110 :: ทดสอบ pop service ของ windows server 2003 Microsoft Windows POP3 Service Version 1.0 ready.
USER
+OK

PASS xxxxxxx
+OK User successfully logged on
telnet 202.29.78.13 80 :: ให้พิมพ์คำสั่ง GET แม้มองไม่เห็นหลังกดปุ่ม enter (ใช้ทดสอบการตอบสนองของ server)
GET /index.html
Connection to host lost.
C:\>

2. Ftp - คำสั่ง ftp ของระบบ Unix,Linux (เป็นโปรแกรมรับ-ส่งไฟล์ ) รูบแบบการใช้งาน ftp (IP or Name of FTP Server)
ตัวอย่าง ftp 132.209.1.2 [Enter]
Login:anonymous , Password: Username@YourDomain.com
คำสั่งที่เกี่ยวข้อง ls - ดูไฟล์ ; pwd -ดูdir. ที่อยู่ ;cd - เปลี่ยน dir ;lcd - เปลี่ยน local dir ;mput* -ส่งไฟล์ ;mget - รับไฟล์ ;bye - ออก

3. Lynx - : Text browser ที่ใช้งานง่าย ใช้ดู source หรือ download ได้ ตัวอย่างคำสั่ง และการใช้งาน
lynx www.thaiall.com :: เพื่อเปิดเว็บ www.thaiall.com แบบ text mode
lynx http://www.yonok.ac.th :: เพื่อเปิดเว็บ www.yonok.ac.th แบบ text mode
lynx -dump http://www.yonok.ac.th :: เพื่อแสดงผลลัพธ์แบบไม่ interactive คือการ view ผลแล้วหยุดทันที
lynx -dump -width=500 http://piology.org/.procmailrc.htmlgrep '^'cut -c3- :: ตัวอย่างการนำไปใช้

4. Mesg - mesg ดู status การรับการติดต่อของ terminal mesg y เปิดให้ terminal สามารถรับการติดต่อได้ mesg n ปิดไม่ให้ terminal สามารถรับการติดต่อได้

5. Ping - : ตรวจสอบ ip ของเครื่องเป้าหมาย และการเชื่อมต่อ internet
: send ICMP ECHO_REQUEST to network hosts
ตัวอย่างคำสั่ง และการใช้งาน
ping www.thaiall.com :: ตัวสอบการมีอยู่ของ www.thaiall.com และแสดงเลข IP ของเว็บนี้
ping 202.29.78.100 -c 5 :: แสดงผลการทดสอบเพียง 5 บรรทัด
ping 202.29.78.2 :: ผลดังข้างล่างนี้ แสดงว่าไม่พบเครื่องที่มีเลข ip ดังกล่าว
PING 202.29.78.2 (202.29.78.2) from 202.29.78.12 : 56(84) bytes of data.
From 202.29.78.12 icmp_seq=1 Destination Host Unreachable From 202.29.78.12 icmp_seq=2 Destination Host Unreachable From 202.29.78.12 icmp_seq=3 Destination Host Unreachable

6. Write - คำสั่งใช้เพื่อการส่งข้อมูลทางเดียวจากผู้เขียนไปถึงผู้รับบนเครื่องเดียวกันเท่านั้น รูปแบบคำสั่ง write user [tty] เมื่อมีการพิมพ์คำสั่ง write ผู้ใช้จะเห็นข้อความซึ่งจะแสดงว่าข้อความดังกล่าวถูกส่งมาโดยใคร ซึ่งหากผู้รับต้องการตอบกลับ ก็จะต้องใช้คำสั่ง write เช่นกัน เมื่อพิมพ์เสร็จแล้วให้พิมพ์ตัวอักษร EOF หรือ กด CTRL+C เพื่อเป็นการ interrupt ทั้งนี้ข้อความที่พิมพ์หลังจาก write จะถูกส่งหลังจากการกด Enter เท่านั้น ตัวอย่าง write m2k

แหล่งที่มา
SUT - High Performace Computing Cluster - ชุดคำสั่ง Unix 1
ผมเชื่อว่าทุกคนที่ใช้ unix หรือ linux ต้องเคยใช้คำสั่งนี้มาก่อน ..... user interface to the TELNET protocol ตัวอย่างคำสั่ง และการใช้งาน ...uma.sut.ac.th/cluster/index.php?option=com_content&task=view&id=56&Itemid=164 - 28k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน

คำสั่ง UNIX ที่ควรทราบคำสั่ง UNIX ที่ควรทราบ. http://www.bsd.org/unixcmds.html. There are MANY commands available for you in a UNIX shell account. A list of them follows (in no ...puffer.sru.ac.th/OpenBSD/command - 65k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน

คำสั่งสำรองข้อมูล (Unix)

คำสั่งสำรองข้อมูล

1. Tar - เป็นคำสั่งเพื่อการ backup และ restore file ทั้งนี้การ tar จะเก็บทั้งโครง สร้าง directory และ file permission ด้วย (เหมาะสำหรับการเคลื่อนย้าย หรือแจกจ่ายโปรแกรมบนระบบ UNIX) มาจากคำว่า tape archive รูปแบบคำสั่ง tar [option]... [file]... โดย option ที่มักใช้กันใน echo คือ -c ทำการสร้างใหม่ (backup) -t แสดงรายชื่อแฟ้มข้อมูลในแฟ้มที่ backup ไว้ -v ตรวจสอบความถูกต้องของการประมวลผล -f ผลลัพธ์ของมาที่ file -x ทำการ restore ตัวอย่าง tar -xvf data.tar

2. Gzip - gzip/gunzip คำสั่งgzip/gunzipของระบบ Unix,Linux (เป็นการบีบอัดไฟล์หรือขยายบีบอัดไฟล์) รูบแบบการใช้งาน gzipหรือgunzip (-cdfhlLnNrtv19 ) [file] ตัวอย่าง #gzip -9vr /home/samba/* บีบอัดไฟล์ข้อมูลทุกไฟล์ ในSub /home/samba จะเปลี่ยนเป็นนามสุกล .gz #gunzip -dvr /home/samba/* คลายการบีบอัดไฟล์ข้อมูลทุกไฟล์ที่สกุล .gz ในSub /home/samba

3. Gunzip - gzip/gunzip คำสั่งgzip/gunzipของระบบ Unix,Linux (เป็นการบีบอัดไฟล์หรือขยายบีบอัดไฟล์) รูบแบบการใช้งาน gzipหรือgunzip (-cdfhlLnNrtv19 ) [file] ตัวอย่าง #gzip -9vr /home/samba/* บีบอัดไฟล์ข้อมูลทุกไฟล์ ในSub /home/samba จะเปลี่ยนเป็นนามสุกล .gz #gunzip -dvr /home/samba/* คลายการบีบอัดไฟล์ข้อมูลทุกไฟล์ที่สกุล .gz ในSub /home/samba

แหล่งข้อมูล

คำสั่ง UNIX ที่ควรทราบ
คำสั่ง UNIX ที่ควรทราบ. http://www.bsd.org/unixcmds.html. There are MANY commands available for you in a UNIX shell account. A list of them follows (in no ...puffer.sru.ac.th/OpenBSD/command - 65k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน

วันจันทร์ที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

คำสั่งเกี่ยวกับการจัดการโปรเซส (Unix)

คำสั่งเกี่ยวกับการจัดการโปรเซส

1. Ps - การดูสถานะของ Process ต่างบนระบบรูปแบบการใช้งาน ps[option]... โดย option ที่มักใช้กันใน ps คือ -l แสดงผลลัพธ์เป็น Long Format-f แสดงผลลัพธ์เป็น Full Format-a แสดง Proces ทั้งหมดที่มี TTY ตรงกับ TTY ของผู้ใช้งาน-x แสดง Process ทั้งหมด

2. Kill - คำสั่ง kill ของระบบ Unix,Linux (เป็นคำสั่งสำหรับยกเลิก Process) รูบแบบการใช้งาน kill [option] (process ID) ตัวอย่าง ps -A ดูหมายเลขที่ช่อง PIDของProcess ที่ต้องการลบ Kill -9 nnn แทนnnnด้วยหมายเลขPID -9 คือบังคับฆ่าให้ตาย

3. Fg - โดยส่วนมากใช้คำสั่ง fg เพื่อที่นำ การทำงานของ process ที่หยุดลงไปกลับคืนมาทำงานต่อ (ซึ่งก็คือเหมือนคำสั่ง Ctrl-Z ) โดยส่ง signal ให้แก่ process ว่า CONT signal

4. Bg - จะทำงานเหมือนกับคำสั่ง FG แต่จะให้สำหรับ ทำให้ process ที่อยู่ในส่วน Background ของระบบ เพื่อสั่งให้มันประมวลผลต่อ

5. Jobs - คำสั่ง jobs ของระบบ Unix,Linux (เป็นคำสั่งสำหรับกำหนดควบคุม การรับส่งผ่านข้อมูลของ Firewall) รูบแบบการใช้งาน jobs ตัวอย่าง #sleep 20 & jobs

แหล่งที่มา
คำสั่ง UNIX ที่ควรทราบ
คำสั่ง UNIX ที่ควรทราบ. http://www.bsd.org/unixcmds.html. There are MANY commands available for you in a UNIX shell account. A list of them follows (in no ...puffer.sru.ac.th/OpenBSD/command - 65k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน

คำสั่งเกี่ยวกับการจัดการไฟล์ (Unix)

คำสั่งเกี่ยวกับการจัดการไฟล์

1. Is - เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับแสดงแฟ้มข้อมูล (เช่นเดียวกับ dirของDOS) มากจากคำว่า list รูปแบบคำสั่ง ls [option] [file] option ที่มักใช้กันใน ls คือ -l จะแสดงผลลัพธ์แบบ Long Format ซึ่งจะแสดง Permission ของแฟ้มด้วย -a จะแสดงแฟ้มข้อมูลทั้งหมด -F จะแสดง / หลัง Directory และ * หลังแฟ้มข้อมูลที่ execute ได้ ตัวอย่างการใช้งาน ls -l ls -al ls -F

2. Cd - คำสั่งChange Directoryของระบบ Unix,Linux (คล้ายกับคำสั่งCDของDOS) รูบแบบการใช้งาน cd [directory] ตัวอย่าง cd /etc [Enter]ไปDirectory etc cd ..[Enter] ย้ายไปDirectoryอีก1ชั้น

3. Pwd - เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับแสดง Directory ปัจจุบัน (ในทำนองเดียวกับการพิมพ์ cd บน DOS) มาจากคำว่า print work directory รูปแบบคำสั่ง / ตัวอย่าง pwd

4. File - คำสั่งfileบนระบบ DOS/Windows นั้น ประเภทของแฟ้มข้อมูลจะถูกระบุด้วยนามสกุล แต่ใน UNIX จะไม่มีนามสกุลเพื่อใช้ระบุประเภทของแฟ้มข้อมูล ดังนั้นการหาประเภทของแฟ้มข้อมูลจะดูจาก Context ภายในของแฟ้ม ซึ่งคำสั่ง file จะทำการอ่าน Content และบอกประเภทของแฟ้มข้อมูลนั้นๆ รูปแบบคำสั่ง file [option]... file ตัวอย่าง file /bin/sh file report1.doc

5. Mv - เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการย้ายแฟ้มข้อมูลและ Directory รวมถึงการเปลี่ยนชื่อด้วย (ในทำนองเดียวกับ dos) มาจากคำว่า move รูปแบบคำสั่ง mv source target ตัวอย่าง mv *.tar /backup mv test.txt old.txt mv bin oldbin

6. Mkdir - เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการสร้าง directory (ในทำนองเดียวกับ dos) มาจากคำว่า make directory รูปแบบของคำสั่งmkdir mkdir [option] [file] โดย option ที่มักใช้กันใน mkdir คือ -m จะทำการกำหนด Permissioin (ให้ดูคำสั่ง chmod เพิ่มเติม) -p จะทำการสร้าง Parent Directory ให้ด้วยกรณีที่ยังไม่มีการระบุ directory ในที่นี้อาจเป็น relative หรือ absolute path ก็ได้ ตัวอย่าง mkdir /home mkdir -p -m755 ~/้home/user1

7. Rm - เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับลบแฟ้มข้อมูล (ในทำนองเดียวกับ del) มาจากคำว่า remove รูปแบบการใช้งาน rm [option]... [file]...โดย option ที่มักใช้กันใน rm คือ-r ทำการลบข้อมูลใน directory ย่อยทั่งหมด-i โปรแกรมจะถามยืนยันก่อนทำการลบ-f โปรแกรมจะลบข้อมูลทันที โดยไม่ถามยืนยันก่อนตัวอย่างrm -rf test/rm test.docแหล่งข้อมูลเพิ่มเติม : rm --help และ man rm

8. Rmdir - เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการลบ directory (ในทำนองเดียวกับ dos) มาจากคำว่า remove directory รูปแบบการใช้งาน rmdir [option] [file] โดย option ที่มักใช้กันใน mkdir คือ -p จะทำการลบ Child และ Parent Directory ตามลำดับ directory ในที่นี้อาจเป็น relative หรือ absolute path ก็ได้ ตัวอย่าง rmdir /home

9. Chown - คำสั่งChange Ownerของระบบ Unix,Linux (เป็นการเปลี่ยนเจ้าของไฟล์) รูบแบบการใช้งาน chown [ซื่อเจ้าของไฟล์] (ชื่อFile) ตัวอย่าง chown user1 filename คือเปลี่ยนเจ้าของไฟล์ชื่อ filename เป็นUser1 chown -R user1.root dirname คือเปลี่ยนทั้งเจ้าของไฟล์และกลุ่มไปพร้อมกันทุกไฟล์ใน Sub dirname.

10. Chgrp - คำสั่งChange Groupของระบบ Unix,Linux (เป็นการเปลี่ยนกลุ่มเจ้าของไฟล์) รูบแบบการใช้งาน chgrp [-chfRv] (Group) (File) ตัวอย่าง chgrp root /root/* เปลี่ยนGroupให้กับไฟล์ทุกไฟล์ในไดเรคทอรี่ /root ให้เป็น Group root

แหล่งที่มา
คำสั่ง UNIX ที่ควรทราบ
คำสั่ง UNIX ที่ควรทราบ. http://www.bsd.org/unixcmds.html ... rmdir ............. . remove directory (rm -r to delete folders with files) rm ................. ...puffer.sru.ac.th/OpenBSD/command - 65k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้าย


วันอาทิตย์ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

การใช้โปรแกรม Adobe Captivate 3

โปรแกรม Adobe Captivate 3





วิธีใช้โปรแกรม Adobe Captivate 3

[PDF]
เอกสารประกอบการอบรมโปรแกรม Adobe Captivate 3
รูปแบบไฟล์: PDF/Adobe Acrobat - แสดงเป็นแบบ HTMLความตองการทรัพยากรโดยรวม Adobe Captivate 3: Authoring .... การเปดใชงาน โปรแกรม Adobe Captivate 3. 1. คลิก Start All Program Adobe Adobe Captivate 3 ...e-learning.vec.go.th/file.php/1/data_sukhum/TrainingAdobeCaptivate3New.pdf - หน้าที่คล้ายกัน

[PDF]
การสรางสื่อมัลติมีเดียดวย Adobe Captivate 3
รูปแบบไฟล์: PDF/Adobe Acrobat - แสดงเป็นแบบ HTMLเรื่องที่ 1.3 อินเทอรเฟสของ Adobe Captivate 3. ตอนที่ 2 การบันทึกและปรับแตงส ไลด ... ติดตั้งโปรแกรม Adobe Captivate 3 ดวยตนเองได ...cybered.swu.ac.th/cepaper/filesupload/13.pdf - หน้าที่คล้ายกัน

วันจันทร์ที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

VM Ware

VMWare
.
สำหรับการดำเนินงานของภาครัฐ เพื่อก้าวไปสู่การเป็น e-Government ที่มีการดำเนินงานและการให้บริการที่มีประสิทธิภาพ และมีความรวดเร็ว เจ้าหน้าที่หรือพนักงานของหน่วยงานในทุกระดับควรมีการพัฒนาเทคนิค สร้างเสริมความรู้ประสบการณ์การใช้งานคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง เพื่อนำมาพัฒนาระบบต่างๆให้สามารถรองรับการให้บริการที่ดียิ่งๆ ขึ้นไป หัวข้อ IT Trip ของ GITS Newsletter ฉบับนี้ จะขอแนะนำโปรแกรมที่ชื่อว่า VMWare ซึ่งคิดว่าหลายๆ ท่านอาจจะคุ้นเคยกันดี แต่สำหรับอีกหลายๆท่านก็อาจจะไม่ทราบว่าโปรแกรม VMWare นี้คืออะไร มีประโยชน์กับผู้ใช้ระบบ IT อย่างเราๆ อย่างไรบ้าง เรามาทำความรู้จักกับมันซักหน่อยดีกว่าครับ เผื่อท่านอาจจะได้ไอเดียอะไรดีดีในการใช้โปรแกรมนี้ เพื่อนำไปพัฒนาระบบหรือพัฒนาตัวเองต่อไป



รูปที่ 1 เว็บไซต์ของ VMWare http://www.vmware.com/


VMWare คืออะไร?


โปรแกรม VMWare เป็นโปรแกรมที่ถูกคิดค้นขึ้นมาเพื่อสร้างคอมพิวเตอร์เสมือน (Virtual Machine) ขึ้นบนระบบปฏิบัติการเดิมที่มีอยู่ ตัวอย่างเช่นในรูปที่ 2 เป็นรูปที่แสดงถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ลงระบบปฏิบัติการ Windows XP อยู่เดิม แล้วทำการลงระบบปฏิบัติการ Windows NT ผ่านโปรแกรม VMWare อีกทีหนึ่ง ซึ่งเมื่อลงแล้ว ทั้งสองระบบสามารถทำงานพร้อมกันได้โดยแยกจากกันค่อนข้างเด็ดขาด (เสมือนเป็นคนละเครื่อง) โดยคอมพิวเตอร์เสมือนที่สร้างขึ้นมานั้น จะมีสภาพแวดล้อมเหมือนกับคอมพิวเตอร์จริงๆ เครื่องหนึ่ง ซึ่งจะประกอบด้วย พื้นที่ดิสก์ที่ใช้ร่วมกับพื้นที่ดิสก์ของเครื่องนั้นๆ การ์ดแสดงผล การ์ดเน็ตเวิร์ก พื้นที่หน่วยความจำซึ่งจะแบ่งการทำงานมาจากหน่วยความจำของเครื่องนั้นๆ เช่นกัน



.

รูปที่ 2 แสดงการใช้ระบบปฏิบัติการ Windows NT บน Windows XP


ปัจจุบันโปรแกรม VMWare มีเวอร์ชันทั้งสำหรับการทำงานบน Windows และ Linux หากเครื่องท่านเป็น Windows ก็สามารถลองเวอร์ชันสำหรับ Windows ได้ โดยท่านสามารถเข้าไปโหลดโปรแกรมมาทดลองใช้งานได้ที่ URL http://www.vmware.com แล้วเลือกที่ download และทำการดาวน์โหลด VMWare Workstation ซึ่งจะมีเวลาให้ทดลองใช้งานอยู่ที่ 30 วัน

คุณสมบัติขั้นต่ำของเครื่องคอมพิวเตอร์

- CPU ความเร็วไม่ต่ำกว่า 500 MHz

- หน่วยความจำขั้นต่ำ 256 MB

- การ์ดแสดงผลแบบ 16 บิต หรือ 32 บิต

- พื้นที่ดิสก์ในการลงโปรแกรม 80 MB สำหรับเวอร์ชัน Linux และ 150 MB สำหรับ Windows

- พื้นที่ดิสก์ขนาดไม่ต่ำกว่า 1 GB ต่อการลงระบบปฎิบัติการ 1 ระบบ

สำหรับข้อจำกัดของการทำงานบน VMWare ก็คือ VMWare จะสร้างสภาพแวดล้อมของฮาร์ดแวร์ต่างๆ ซึ่งเป็นของตัวโปรแกรม VMWare เอง ดังนั้นการใช้ฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์หลักและคอมพิวเตอร์เสมือนจะไม่เหมือนกัน จึงไม่สามารถที่จะติดตั้งไดรเวอร์ของฮาร์ดแวร์จริงๆ ให้กับคอมพิวเตอร์เสมือนที่ลงผ่านโปรแกรม VMWare ได้

.

VMWare มีประโยชน์อย่างไร


1. ใช้จำลองการทำงาน ระหว่าง Client และ Many Server Many OS
2. คุณสามารถลง บน XP หรือ Linux ก็ได้
3. สามารถทดสอบ กับ Client ใน Network หรือ กับ เครื่องเดียวกับ VM server ได้
4. ประหยัดค่าใช้จ่าย

วิธีการใช้โปรแกรม VMWare

วิธีการใช้ VMware by Mr.Jodoi
วิธีการใช้ VMware by Mr.Jodoi ... OS ได้โดยที่ไม่ต้องมีการ restart เครื่องเลย ครับ โปรแกรม VMware ที่จะสอนการใช้นี้จะเป็น เวอร์ชั่น VMware Workstation ACE ...www.jodoi.com/vmware/vmware.html - 13k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน

แหล่งที่มา

Government Information Technology Services : สำนักบริการเทคโนโลยี ...
VMWare คืออะไร? โปรแกรม VMWare เป็นโปรแกรมที่ถูกคิดค้นขึ้นมาเพื่อสร้าง คอมพิวเตอร์เสมือน (Virtual Machine) ขึ้นบนระบบปฏิบัติการเดิมที่มีอยู่ ...www.gits.net.th/knowledge/newsletter/ittrip/index.asp?MenuID=28&RootMenuID=8&book=6

วันอังคารที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2551

คำสั่งที่ใช้ในระบบปฏิบัติการ Unix

1. man - ใช้แสดงรายละเอียดข้อมูลของคำสั่ง หรือ วิธีการใช้แฟ้มข้อมูลต่างๆ
2. alias - เพื่อกำหนด Macro ใช้ให้คำสั่ง ได้สะดวกมากขึ้น , ใช้ย่อคำสั่งให้สั้นลง
3. cal - ใช้แสดง ปฏิทินระบบ
4. clear - คำสั่งในการลบข้อความต่างๆ บนหน้าจอ
5. cmp - เปรียบเทียบไฟล์ 2 ไฟล์
6. cat - แสดงข้อมูลในแฟ้ม คล้ายคำสั่ง type ในระบบ Dos
7. cut - ใช้ตัด Text หรือตัด ข้อความ
8. date - คำสั่งแสดงวันที่บนหน้าจอ พร้อม วัน เวลา
9. diff - ใช้เปรียบเทียบไฟล์ 2 ไฟล์ว่ามีคล้ายกันหรือต่างกันอย่างไร
10. echo - แสดงข้อความออกทาง standard output หรือ แสดงข้อความออกทางหน้าจอ
11. exit - คำสั่งที่ใช้ในการออกจาก shell ที่เรากำลังทำงานอยู่
12. expr - ประมวลคำจากสูตรคณิตศาสตร์
13. find - เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับค้นหาแฟ้มข้อมูล
14. finger - ใช้สำหรับแสดงรายละเอียดของผู้ใช้
15. grep - เป็นคำสั่งที่ใช้หาดู ข้อความในไฟล์
16. head - จะแสดงส่วนหัวของแฟ้มข้อมูล ตามแต่ละบรรทัดที่ต้องการ
17. more - คำสั่งที่ช่วยให้สามารถดูข้อมูลที่มีขนาดยาว ให้เป็นช่วงๆ
18. less - เป็นการเพิ่มมาจากคำสั่ง move ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องจาก move ดูข้อมูลย้อนหลังไม่ได้
19. passwd - เปลี่ยน Password คนที่ทำงานอยู่ในปัจจุบัน
20. sort - ใช้เพื่อทำการจัดเรียงข้อมูลในแฟ้มตามลำดับ
21. su - ขอเปลี่ยนตนเองเป็น super user เพื่อใช้สิทธิสูงสุดในการบริหารระบบ
22. tail - จะแสดงส่วนท้ายของข้อมูลตามจำนวนบรรทัดที่ต้องการ
23. touch - สร้างไฟล์ที่ว่างเปล่า หรือปรับเปลี่ยนวันเวลาที่บันทึกลงบนไฟล์
24. w - ใช้แสดงว่าใครใช้งานอยู่บ้างในขณะนั้น
25. whoami - ใช้แสดงว่าผู้ใช้ใช้ชื่อ login เข้าระบบ login ด้วยชื่ออะไร
26. who - ใช้เพื่อแสดงว่าผู้ใช้ใดบ้างที่กำลังทำงานอยู่บนระบบบ้าง
27. which -
28. whereis -
ค้นหาแฟ้มที่ต้องการว่าอยู่ที่ห้องใด แต่ค้นหาได้เฉพาะที่กำหนดไว้ใน path เท่านั้น หากต้องการค้นหาทั้งเครื่องต้องใช้คำสั่ง find

แหล่งที่มา
การใช้งานคำสั่ง unix เบื้องต้น
4.Utilities คำสั่งต่างที่ทำงานได้บน ระบบงาน unix จึงทำให้ kernel มีขนาดเล็ก เพราะจะมีเฉพาะหน้าที่สำคัญเท่านั้น ประเภทของไฟล์ใน Unix ...www.jobpub.com/articles/showarticle.asp?id=89

วันอังคารที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2551

แหล่งทรัพยากร

UNIX
รูปแบบไฟล์: Microsoft Powerpoint - แสดงเป็นแบบ HTMLประวัติความเป็นมาของ UNIX. บริษัท AT&T ร่วมมือกับ AIT พัฒนาระบบ MULTICS ขึ้นมาใน ช่วงปี 1960; MULTICS ทำท่าว่าจะไปไม่รอด AT&T จึงถอนตัวออกจากโครงการ ...www.compsci.buu.ac.th/~jakkaman/C_Programming/week01(18%20June%2001)/Unix.ppt - หน้าที่คล้ายกัน

ภาพนิ่ง 1
รูปแบบไฟล์: Microsoft Powerpoint - แสดงเป็นแบบ HTMLยูนิกซ์ (Unix แต่ชื่อตามเครื่องหมายการค้าคือ UNIX) เป็นระบบปฏิบัติการ ... 1982 AT&T นำยูนิกซ์ 7 มาพัฒนาและออกขายในชื่อ Unix System III แต่บริษัทลูก ...eclassnet.kku.ac.th/etraining/file/1220294266-unix.ppt - หน้าที่คล้ายกัน

UNIX
รูปแบบไฟล์: Microsoft Powerpoint - แสดงเป็นแบบ HTMLการเข้าสู่ระบบ UNIX. การตั้งรหัสผ่าน. รหัสผ่านต้องยาวอย่างน้อย 6 ตัว; ประกอบด้วย ตัวเลข .... สรุปการเปรียบเทียบคำสั่งบนระบบปฏิบัติการ DOS และ Unix ...staff.buu.ac.th/~seree/ooad/04-Unix.ppt - หน้าที่คล้ายกัน

ตอบคำถาม ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Unix

1. ความเป็นมาของ Unix

บริษัท AT&T ร่วมมือกับ AIT พัฒนาระบบ MULTICS ขึ้นมาในช่วงปี 1960
MULTICS ทำท่าว่าจะไปไม่รอด AT&T จึงถอนตัวออกจากโครงการ
นักพัฒนาของ AT&T จึงได้นำความรู้และปัญหาจากโครงการ MULTIC
พัฒนาระบบใหม่แล้วสร้างเป็นระบบปฏิบัติการขึ้นมา และใช้ชื่อว่า UNIX

ในช่วงแรก UNIX ยังถูกใช้งานกับเครื่อง PDP-7 และ PDP-11 ของ AT&T เท่านั้น
ในช่วงปี 1973 UNIX ถูกเขียนขึ้นมาใหม่ทั้งหมด โดยใช้ภาษา C ซึ่งเป็นจุดเปลี่ยนแปลงที่สำคัญมากที่สุดอย่างหนึ่งของ UNIX เพราะทำให้ UNIX สามารถนำไปใช้ได้กับเครื่องหลายชนิด แก้ไขระบบได้ง่ายกว่าระบบปฏิบัติการอื่นๆ ที่เขียนด้วยภาษา Assembly ราคาถูกลง

AT&T แจก Code ของ UNIX ไปให้กับมหาวิทยาลัยต่างๆ เพื่อหวังให้เป็นที่นิยมมากขึ้น แต่กลับทำให้เกิด UNIX ตัวใหม่ขึ้นมา เรียกว่า BSD UNIX (Berkeley Software Distribution UNIX) ซึ่งเขียนโดย University of California ที่ Berkeley ระบบ UNIX ตัวนี้แจกฟรี และกลายเป็น UNIX ที่ใช้กันอย่างกว้างขวางตัวหนึ่งโดยเฉพาะในมหาวิทยาลัย เมื่อเครื่อง PC มีความสามารถสูงขึ้นและราคาถูกลงทำให้เกิด UNIX ที่ใช้บน PC ขึ้นมาชื่อว่า XENIX

ในช่วงกลางทศวรรษ 1980 ได้มีการพัฒนา X-window ขึ้นมา ทำให้การใช้งาน UNIX เริ่มมี Graphic User Interface
AT&T ได้ทำการพัฒนา UNIX ของตนขึ้นมาเรื่อยๆ จนกระทั่งถึงรุ่น System V Release 4 (SVR4) AT&T ได้รวมข้อกำหนดและมาตรฐานต่างๆ ของ BSD UNIX และ XENIX เข้าไปด้วย ทำให้โปรแกรมที่ออกมาสำหรับ BSD UNIX และ XENIX สามารถนำไปใช้บน SVR4 ได้ ซึ่งส่งผลให้กลุ่มนักพัฒนาและบริษัทอื่นๆวิตกว่า AT&T จะผูกขาดการกำหนดมาตรฐานของ UNIX จึงได้รวมตัว

ในจัดตั้ง Open Software Foundation (OSF) ขึ้นมาเพื่อวิจัยและกำหนดมาตรฐานต่างๆ ของระบบ UNIX ขึ้นมาป้องกันการผูกขาดของ AT&T


แหล่งที่มา www.compsci.buu.ac.th/~jakkaman/C_Programming/week01(18%20June%2001)/Unix.ppt

2. คุณสมบัติ

• Software Tool
–โปรแกรมบน UNIX จะแบ่งตัวเองออกเป็นส่วนย่อยๆ และสามารถใช้งานส่วนย่อยเหล่านั้นร่วมกัน ระหว่างหลายๆ โปรแกรมได้
• Portability
–เนื่องจาก UNIX สามารถนำไปใช้กับเครื่องแบบต่างๆ ได้มากมาย โปรแกรมที่ใช้งานบน UNIX จะสามารถนำไปใช้ได้ด้วยเช่นเดียวกัน
• Flexibility
–UNIX มีความยืดหยุ่นในการใช้งานสูง สามารถนำไปใช้กับงานเล็กๆ หรืองานใหญ่ๆ ก็ได้
• Power
–สามารถทำงานที่ซับซ้อนได้ดี และมีความสามารถในด้านต่างๆ มากกว่าระบบปฏิบัติการอื่นๆ
• Multi-user & multitasking
–สามารถมีผู้ใช้งานได้ทีละหลายๆคน และทำงานหลายๆ อย่างพร้อมกัน
• Elegance
–หลักการทำงานของส่วนต่างๆ จะเหมือนกัน ดังนั้นเมื่อผู้ใช้ทำงานส่วนหนึ่งได้ ก็จะเรียนรู้และใช้งานส่วน อื่นๆ ได้ง่าย
• Network Orientation
–UNIX เป็นระบบปฏิบัติการที่สนับสนุนการใช้งานเครือข่าย โดยเฉพาะเครือข่าย TCP/IP ซึ่งใช้ในระบบ Internet

แหล่งที่มา www.compsci.buu.ac.th/~jakkaman/C_Programming/week01(18%20June%2001)/Unix.ppt

3. โครงสร้าง

ระบบปฏิบัติการ Unix สามารถแบ่งโครงสร้างหลัก ๆ ได้ 4 ระดับ แต่ละระดับก็จะทำหน้าที่ต่างกัน

Hardware หมายถึงอุปกรณ์หรือทุกชิ้นส่วนของคอมพิวเตอร์ ที่เราสามารถจับต้องได้ เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เม้าส์ ดิกส์ไดรซ์ ซีดีรอม เป็นต้น


Unix Kernel เคอร์เนล จะทำหน้าที่ควบคุมการทำงานทั้งหมดของระบบ ได้แก่ การจัดสรรทรัพยากร การจัดการข้อมูลบริการหน่วยความจำ ซึ่งเคอร์เนลนี้จะขึ้นกับฮาร์ดแวร์ เช่น ถ้ามีการเปลี่ยนแปลง ฮาร์ดแวร์ เคอร์เนลนี้ก็จะถูกเปลี่ยนไปด้วย เป็นต้น

Shell คือ ตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับตัวเคอร์เนล ทำหน้าที่รับคำสั่งจากผู้ใช้ แล้วนำไปแปลเป็นภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจ เราเรียกอีกอย่างหนึ่งได้ว่า command interpreter แต่ถ้ามีการนำ เชลล์หลาย ๆ ตัวมาเขียนรวมกัน (คล้าย ๆ กับ batch file ในระบบปฏิบัติการ DOS) เราจะเรียกว่า เชลล์สคริปต์ นอกจากนี้ เชลล์ (Shell) ยังมีอีกหลาย ๆ ประเภท แต่ที่นิยมกันได้แก่
Bourne shell (sh) เป็นเชลล์ต้นแบบของทุก ๆ เชลล์ มีความสามารถในการเขียน เชลล์สคริปต์ได้ด้วย
C shell (csh) เป็นเชลล์ที่สร้างหลัง Bourne shell ความสามารถพิเศษของ C shell คือเก็บข้อมูลเกี่ยวกับคำสั่งที่เคยใช้
Korn shell (ksh) ซึ่งพัฒนาโดย AT&T โดยได้นำคุณสมบัติเด่น ๆ ของ Bourne shell และ C shell มารวมกัน
Bourne again shell (bash) มีคุณสมบัติและความสามารถคล้ายกับ Korn shell แต่ shell นี้ถูกสร้างขึ้นมาใช้สำหรับแจกฟรี ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญที่ทาง Linux นำมาใช้ คำสั่งที่ทำให้ทราบว่าเราใช้งาน เชลล์อะไรอยู่คือ echo $SHELL

Utilities หมายถึง โปรแกรมการใช้งานเพิ่มเติมต่าง ๆ ที่ใช้บนระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ ได้แก่ pine เป็นต้น

แหล่งที่มา http://www.it-guides.com/lesson2/linux01.html



4. Shell

เชลล์ คือ ตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับตัวเคอร์เนล ทำหน้าที่รับคำสั่งจากผู้ใช้ แล้วนำไปแปลเป็นภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจ เราเรียกอีกอย่างหนึ่งได้ว่า command interpreter แต่ถ้ามีการนำ เชลล์หลาย ๆ ตัวมาเขียนรวมกัน (คล้าย ๆ กับ batch file ในระบบปฏิบัติการ DOS) เราจะเรียกว่า เชลล์สคริปต์ นอกจากนี้ เชลล์ (Shell) ยังมีอีกหลาย ๆ ประเภท แต่ที่นิยมกันได้แก่
Bourne shell (sh) เป็นเชลล์ต้นแบบของทุก ๆ เชลล์ มีความสามารถในการเขียน เชลล์สคริปต์ได้ด้วย
C shell (csh) เป็นเชลล์ที่สร้างหลัง Bourne shell ความสามารถพิเศษของ C shell คือเก็บข้อมูลเกี่ยวกับคำสั่งที่เคยใช้
Korn shell (ksh) ซึ่งพัฒนาโดย AT&T โดยได้นำคุณสมบัติเด่น ๆ ของ Bourne shell และ C shell มารวมกัน
Bourne again shell (bash) มีคุณสมบัติและความสามารถคล้ายกับ Korn shell แต่ shell นี้ถูกสร้างขึ้นมาใช้สำหรับแจกฟรี ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญที่ทาง Linux นำมาใช้ คำสั่งที่ทำให้ทราบว่าเราใช้งาน เชลล์อะไรอยู่คือ echo $SHELL

แหล่งที่มา http://www.it-guides.com/lesson2/linux01.html

5. ระบบไฟล์ และไดเรคทอรี่

ระบบไฟล์และไดเรคทอรีบน UNIX

UNIX มองทุกอย่างเป็นไฟล์หมด แม้แต่หน่วยความจำ (/dev/mem) ซีดีรอม (/dev/cdrom) เม้าส์ (dev/mouse) โมเด็ม (/dev/modem) ระบบไฟล์และไดเรคทอรีบนUNIX มีโครงสร้างแบบต้นไม้ (tree structure) โดยไดเรคทอรีนอกสุด คือ ไดเรคทอรีราก (root directory) ใช้ / เป็นตัวแทนครับ ซึ่งก็จะมีไดเรคทอรีย่อยแตกแขนง ออกไปอีกเช่น

/usr /local /lib /etc /bin
ในแต่ละไดเรคทอรีบรรจุไฟล์และไดเรคทอรีย่อยลงไปอีกเช่นใน /usr จะมี local bin


ชื่อไดเรคทอรีแบบนี้จะมีความหมาย ก็ต่อเมื่อ เรารู้ว่าไดเรคทอรีนอกก่อนคืออะไร วิธีเรียกชื่อแบบนี้ถูกเรียกว่า relative pathname แต่ถ้าหากเราใช้ /usr/local หรือ /usr/bin แทน local หรือ bin เราก็จะทราบโครงสร้าง tree structure ที่แท้จริงของไดเรคทอรีนี้ วิธีการเรียกแบบนี้เรียก absolute pathname ไดเรคทอรีที่ผู้ใช้ล็อกอินเข้าไปเรียกว่า home directory ซึ่งก็ขึ้นกับผู้บริหารระบบว่าจะให้ไปอยู่ที่ไหน

แหล่งที่มา http://wiki.nectec.or.th/ntl/Main/Unix-doc


วันอังคารที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2551

แนะนำตัว

รหัสประจำตัวนักศึกษา 5012252110

ชื่อ-สกุล วัชรพงษ์ ชัยสด
ชื่อเล่น กก (K-Kung)

เพื่อนสนิท
1. นาย วีระชัย รุ่งคำ (ป๊อก) Tol. 0843942712
2. นายประสิทธิ์ ทนทาน (แคน) Tol. 0853120634

URL Blog :
http://kkung27.blogspot.com/
Email :
k_o_k27@hotmail.com , wchaisod@yahoo.com
Website : http://www.geocities.com/wchaisod


เบอร์โทรศัพท์ 0854118221



คำอธิบายรายวิชา และ E-Learning

คำอธิบายรายวิชา

ระบบปฏิการ 2 (Operating Systems 2 )

รหัสวิชา 4121402

ศึกษาหน้าที่และการดำเนินงานของระบบปฏิบัติการ เกี่ยวกับจัดการหน่วยความจำ

หน่วยประมวลผลกลาง การจัดแฟ้มข้อมูล หน่วยรับและแสดงผลข้อมูลในลักษณะของผู้ใช้คนเดียว งานเดียวและใช้หลายคนหลายงานพร้อมกัน รวมทั้งการสื่อสารระหว่างขบวนการ (Interprocess Communication : IPC)

E-Learning


1. http://cptd.chandra.ac.th/rawin/os2.html
แหล่งที่มา มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม คณะวิทยาศาสตร์
2. http://computer.rru.ac.th/ln1/courses/6/lecture01.ppt
แหล่งที่มา มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
3. http://www.thaiabc.com/os/histunix.htm
แหล่งที่มา เวปไซต์เพื่อการศึกษา Thaiabc.com
4. http://payamand.212cafe.com/archive/2008-06-17/os-2
แหล่งที่มา Blog payamand.212cafe.com
5. http://th.wikipedia.org/wiki/ยูนิกซ์
แหล่งที่มา วิกิพีเดียสารานุกรมเสรี
6. http://www.compsci.buu.ac.th/~krisana/310222/exercise/lab-01.doc
แหล่งที่มา มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
7. http://www.cs.psu.ac.th/intro_com/Files%5CNewบทที่5.1.doc
แหล่งที่มา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
8. http://learners.in.th/blog/bankeducation/160518
แหล่งที่มา Blog Alongkorn Pattama
9. http://nanotech.sc.mahidol.ac.th/c/unix/index.htm
แหล่งที่มา เวปไซต์ CIMS
10. http://banrong.blogspot.com/2008/02/4-unix.html
แหล่งที่มา Blog banrong.blogspot.com